Java Class Component

Class

Class คือ กลไลที่ใช้ในการ grouping Variables and Methods  ที่มีความเกี่ยวข้องกัน
ภายใน Class หลักๆจะประกอบด้วย Fields Constructors Methods

การประกาศ Class ทำการได้ดังนี้

public class (ชื่อclass){

                                                                }

ตัวอย่าง Code


Class and Object

Class เป็น Template(แม่พิมพ์) ของกาสร้าง Object เราสามารถสร้าง Object  ได้มากกว่า 1 โดยใช้ Class แม่แบบในการสร้าง

การสร้าง Object ทำได้ดังนี้

(ชื่อClass) (ชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บ Object) =  new (เรียกใช้ method Constructors);

ตัวอย่าง Code



การสร้าง Object ของ Class เราจะเรียกอีกแบบหนึ่งว่า Instance ของ Class ใน Code ตัวอย่างข้างต้น กล่าวได้ว่า car1 car2 แบะ car3 เป็น Instance ของ Car

การใช้ Object ในการเข้าถึง Fields และ Method ของ Object นั้นๆทำได้โดยการใช้ เครื่องหมายดอท (.) ต่อท้ายชื่อ Object

ตัวอย่าง Code


Fields

Fields คือ Variable ภายใน Class ซึ่งเป็นการกล่าวถึงคุณลักษณะของ Class

การประกาศ Fields ทำได้ดังนี้

(access_modifier) (static) (final) (data type) (name) = (initial value) ;


หมายเหตุ : การประกาศ Fields สิ่งที่จำเป็นต้องมี คือ (data type) และ (name) นอกนั้นจะมีหรือไม่มีก็ได้ตามความเหมาะสมของ program คุณ

access_modifier เป็นการกำหนดว่าให้ Object ใดเข้าถึง Fields  นี้ได้บ้าง(จะขอกล่าว detail ในบทความต่อไป)

static เป็นการบอกว่า Fields  นี้เป็นของ Class จะถูกสร้างขึ้นพร้อมกับการ load Class ทุก Object ที่สร้างจะมีตัวแปรนี้และค่าในตัวแปรนี้เหมือนกันหมดถึงถูกเปลี่ยนค่าก็เปลี่ยนตามกันหมด

ตัวอย่าง Code




ถ้าหากไม่มี keyword static นั่นหมายความว่า Fields  นี้เป็น non-static เป็นการบอกว่า Fields  นี้เป็นของ Object จะถูกสร้างขึ้นพร้อมกับการประกาศสร้าง Object ซึ่งแต่ละ Object อาจมีค่าใน Fields  นี้ไม่เหมือนกันก็ได้ กล่าวคือ แต่ละ Object จะมีค่าเฉพาะของ Fields  ของ Object ตนเองได้

ตัวอย่าง Code





final เป็นการบอกว่า Fields  นี้ไม่สามรถเปลี่ยนแปลงค่าได้(เป็นค่าคงที่) เมื่อกำหนดค่าให้มันแล้ว

ตัวอย่าง การประกาศ


Method

Method คือที่ใส่ operation,อังกรึทึม หรือ function ของ Variable คุณ ซึ่งประกาศใน Class จริงๆพูดง่ายๆมันก็คือ group ของ java statement(คำสั่ง) ที่ดำเนินการอะไรสักอย่างเกี่ยวกับข้อมูลบางส่วน

ตัวอย่าง Code




Method Parameter เป็นการส่งผ่านค่าไปให้ Method ซึ่งจะส่งตอนเรียกใช้ Method

Parameter จะเหมือนกับ Variables คุณสามารถอ่านค่าและเปลี่ยนแปลงค่ามันตามใจชอบ

ตัวอย่าง code 




Parameter สามารถประกาศ final เช่นเดียวกัน Variable ทำให้ค่าของ final parameter ไม่สามรถเปลี่ยนแปลงค่าได้ หลังจากถูกส่งค่ามาถึง method แล้ว

ตัวอย่าง code 



Local Variables เป็นตัวแปรที่ประกาศใน method สามารถใช้งานได้เหมือนตัวแปรอื่นๆ แต่จะถูกสร้างขึ้นเมื่อ method นั้นถูกเรียกทำงาน และ จะถูกลบหลังจาก method นั้นทำงานเสร็จสิ้นแล้ว

ตัวอย่าง code 




Method Return การ Return ค่า เป็นจุดสิ้นสุดของ function หรือ method มีไว้เพื่อส่งค่ากลับไปให้ผู้เรียกหรือตอบสนองกับผู้เรียก ภาษาบ้านๆก็คือ เป็นคำตอบของคำถาม ผลการทำงาน ผลลัพธ์ เช่น function นี้นั้นนูนทำงานได้หรือไม่ คำตอบ (ได้) / (ไม่ได้) อารมณ์ประมาณนั้น 

การประกาศ  
method ที่มี Return นั้น ต้องระบุ Data Type ที่ต้องการ  Return ไว้ข้างหน้าชื่อ method แทนที่ void ในตัวอย่างก่อนหน้านี้

ตัวอย่าง code




Calling Method in Method เป็นการเรียก Method หนึ่งมาทำงานในอีก Method หนึ่ง

ตัวอย่าง code




Constructors 

Constructors เป็น method เริ่มต้นของ Object กล่าวคือ เป็น method พิเศษที่ทำงานตอนประกาศสร้าง Object เรียกใช้ Constructors หลัง keyword (new) ตอนสร้าง Object

(ชื่อClass) (ชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บ Object) =  new (ชื่อ Constructors)();

การประกาศ
method Constructors ต้องมีชื่อเหมือน Class เท่านั้น ที่เป็นแบบนี้เพื่อเป็นการบอก Compiler ว่า method นี้คือ method Constructors นอกจากนี้ method นี้จะไม่มี return type

ตัวอย่าง code



Default,no-parameter Constructor
ในภาษา java คุณไม่จำเป็นต้องเขียน method Constructors ของ Class แต่ถ้าคุณไม่ได้เขียน Compiler
จะใส่ Default Constructor ซึ่งเป็น No-Parameter Constructor ให้คุณอัตโนมัติเหมือนดังตัวอย่างข้างบนนี้ แต่ถ้าคุณกำหนด Constructor ของ Class เอง Compiler จะไม่ใส่ Default Constructor ให้กับ Class คุณ

Method Constructors สามารถมี Parameter โดยทั่วไปแล้วมักใช้ในการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ fields ของ Object เพื่อทำให้ fields มีค่าเริ่มต้นพร้อมใช้งานในตอนสร้าง Object 

ตัวอย่าง code













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น